วันอังคารที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554

ดาวเสาร์ (saturn)

 
ดาวเสาร์ (อังกฤษ: Saturn) เป็นตัวแทนของเทพแซทเทิร์น (Saturn) เทพแห่งการเพาะปลูกในตำนานของชาวโรมัน ส่วนในตำนานกรีกมีชื่อว่า โครนอส (Cronos) ซึ่งเป็นบิดาแห่งซูส (Zeus) เทพแห่งดาวพฤหัสบดี โดยดาวเสาร์เป็นดาวเคราะห์ ที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลำดับที่ 6 ที่ระยะทาง 1,433 ล้านกิโลเมตร จัดเป็นดาวเคราะห์แก๊ส มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับสองในระบบสุริยะรองจากดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์มีวงแหวนขนาดใหญ่ ที่ประกอบขึ้นจากก้อนหินที่มีน้ำแข็งปะปน สัญลักษณ์แทนดาวเสาร์ คือ ♄

ดาวเสาร์มีรูปร่างป่องออกตามแนวเส้นศูนย์สูตร ที่เรียกว่าทรงกลมแป้น (oblate spheroid) เส้นผ่านศูนย์กลางตามแนวขั้วสั้นกว่าตามแนวเส้นศูนย์สูตรเกือบ 10% เป็นผลจากการหมุนรอบตัวเองอย่างรวดเร็ว ดาวเคราะห์ดวงอื่นๆ ก็มีลักษณะเป็นทรงกลมแป้นเช่นกัน แต่ไม่มากเท่าดาวเสาร์ ดาวเสาร์เป็นดาวเคราะห์เพียงดวงเดียวในระบบสุริยะ ที่มีความหนาแน่นเฉลี่ยน้อยกว่าน้ำ (0.70 กรัม/ลูกบาศก์เซนติเมตร) อย่างไรก็ตาม บรรยากาศชั้นบนของดาวเสาร์มีความหนาแน่นน้อยกว่านี้ ขณะที่ที่แกนมีความหนาแน่นมากกว่าน้ำ วงแหวนของดาวเสาร์ประกอบไปด้วย เศษหินและน้ำแข็งขนาดเล็ก เรียงตัวอยู่ในระนาบเดียวกัน และวงแหวนของดาวเสาร์ก็ประกอบไปด้วย วงแหวนย่อยๆมากมาย ความจริงแล้ววงแหวนดาวเสาร์นั้นบางมาก โดยมีความหนาเฉลี่ยเพียง 500 กิโลเมตรเท่านั้น แต่เศษวัตถุในวงแหวนมีความสามารถในการสะท้อนแสงดี และกว้างกว่า 80,000 กิโลเมตร จึงสามารถสังเกตได้จากโลก
Saturn (planet) large.jpg
ภาพดาวเสาร์จากยานวอยเอเจอร์ 2
ถ่ายเมื่อ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2524
ลักษณะเฉพาะของวงโคจร
จุดเริ่มยุค J2000
ระยะจุด
ไกลดวงอาทิตย์ที่สุด
:
1,503,983,449 กม.
(10.05350840 หน่วยดาราศาสตร์)
ระยะจุด
ใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุด
:
1,349,467,375 กม.
(9.02063224 หน่วยดาราศาสตร์)
กึ่งแกนเอก: 1,426,725,413 กม.
(9.53707032 หน่วยดาราศาสตร์)
เส้นรอบวง
ของวงโคจร:
59.879 หน่วยดาราศาสตร์
ความเยื้องศูนย์กลาง: 0.05415060
คาบดาราคติ: 10,757.7365 วัน
(29.45 ปีจูเลียน)
คาบซินอดิก: 378.09 วัน
อัตราเร็วเฉลี่ย
ในวงโคจร
:
9.638 กม./วินาที
อัตราเร็วสูงสุด
ในวงโคจร:
10.182 กม./วินาที
อัตราเร็วต่ำสุด
ในวงโคจร:
9.136 กม./วินาที
ความเอียง: 2.48446°
(5.51° กับศูนย์สูตรดวงอาทิตย์)
ลองจิจูด
ของจุดโหนดขึ้น
:
113.71504°
ระยะมุมจุด
ใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุด
:
338.71690°
จำนวนดาวบริวาร: 60[1][2]
ลักษณะเฉพาะทางกายภาพ
เส้นผ่านศูนย์กลาง
ตามแนวศูนย์สูตร:
120,536 กม.
(9.449×โลก)
เส้นผ่านศูนย์กลาง
ตามแนวขั้ว:
108,728 กม.
(8.552×โลก)
ความแป้น: 0.09796
พื้นที่ผิว: 4.27×1010 กม.²
(83.703×โลก)
ปริมาตร: 7.46×1014 กม.³
(688.79×โลก)
มวล: 5.6846×1026 กก.
(95.162×โลก)
ความหนาแน่นเฉลี่ย: 0.6873 กรัม/ซม.³ (น้อยกว่าน้ำ)
ความโน้มถ่วง
ที่ศูนย์สูตร:
8.96 เมตร/วินาที²
(0.914 จี)
ความเร็วหลุดพ้น: 35.49 กม./วินาที
คาบการหมุน
รอบตัวเอง
:
0.4440092592 วัน
(10 ชม. 39 นาที 22.40000 วินาที)
ความเร็วการหมุน
รอบตัวเอง:
9.87 กม./วินาที
(35,500 กม./ชม.)
ความเอียงของแกน: 26.73°
ไรต์แอสเซนชัน
ของขั้วเหนือ:
40.59°
(2 ชั่วโมง 42 นาที 21 วินาที)
เดคลิเนชัน
ของขั้วเหนือ:
83.54°
อัตราส่วนสะท้อน: 0.47
อุณหภูมิ: 93 K (ที่ยอดเมฆ)
อุณหภูมิพื้นผิว:
   เคลวิน
ต่ำสุด เฉลี่ย สูงสุด
82 K 143 K
ลักษณะเฉพาะของบรรยากาศ
ความดันบรรยากาศ
ที่พื้นผิว:
140 กิโลปาสกาล
องค์ประกอบ: >93% ไฮโดรเจน
>5% ฮีเลียม
0.2% มีเทน
0.1% ไอน้ำ
0.01% แอมโมเนีย
0.0005% อีเทน
0.0001% ไฮโดรเจนฟอสไฟด์

วงแหวนของดาวเสาร์





ภาพถ่ายคราสดาวเสาร์บังดวงอาทิตย์ จากยานคาสสินี-ไฮเกนส์ เมื่อวันที่ 15 กันยายน ค.ศ. 2006

ดาวเสาร์ เป็นดาวเคราะห์ที่มีระบบวงแหวนดาวเคราะห์ขนาดใหญ่มากกว่าดาวเคราะห์อื่นในระบบสุริยะ วงแหวนของดาวเสาร์ประกอบ ด้วยอนุภาคขนาดเล็กจำนวนมากนับไม่ถ้วน ที่มีขนาดตั้งแต่ไม่กี่ไมโครเมตรไปจนถึงหลายเมตร กระจุกตัวรวมกันอยู่และโคจรไปรอบๆ ดาวเสาร์ อนุภาคในวงแหวนส่วนใหญ่เป็นน้ำแข็ง มีบางส่วนที่เป็นฝุ่นและสสารอื่น

วงแหวนของดาวเสาร์ช่วยสะท้อนแสง ทำให้มองเห็นความสว่างของดาวเสาร์เพิ่มมากขึ้น แต่เราไม่สามารถมองเห็นวงแหวนเหล่านี้ได้ด้วยตาเปล่า ในปี ค.ศ. 1610 ซึ่งกาลิเลโอเริ่มใช้กล้องโทรทรรศน์ใน การสำรวจท้องฟ้า เขาเป็นกลุ่มคนยุคแรกๆ ที่พบและเฝ้าสังเกตวงแหวนของดาวเสาร์ แม้จะมองไม่เห็นลักษณะอันแท้จริงของมันได้อย่างชัดเจน ปี ค.ศ. 1655 คริสเตียน ฮอยเกนส์ เป็นผู้แรกที่สามารถอธิบายลักษณะของวงแหวนว่าเป็นแผนจานวนรอบๆ ดาวเสาร์
ดวงจันทร์ที่ได้รับการยืนยันแล้วจะได้รับการตั้งชื่อถาวรจากสหภาพดาราศาสตร์สากล ประกอบด้วยชื่อและลำดับที่เป็นตัวเลขโรมัน ดวงจันทร์ 9 ดวงที่ถูกค้นพบก่อนปี ค.ศ. 1900 (ซึ่งฟีบีเป็น ดวงเดียวที่มีวงโคจรแบบผิดปกติ) มีหมายเลขเรียงตามระยะห่างจากดาวเสาร์ออกมา ส่วนดวงจันทร์ดวงอื่น ๆ มีหมายเลขเรียงตามลำดับที่ได้รับการตั้งชื่อถาวร อย่างไรก็ตาม ขณะนี้ยังมีดวงจันทร์ดวงเล็ก ๆ ในกลุ่มนอร์สอีก 8 ดวงที่ไม่มีชื่อเรียกถาวร

[แก้] ตารางรายชื่อดวงจันทร์


ลำดับ ชื่อ (ตัวหนาคือดวงจันทร์ที่มีลักษณะทรงกลม) ภาพ เส้นผ่านศูนย์กลาง
(ก.ม.)
กึ่งแกนเอก
(ก.ม.)
คาบดาราคติ
(วัน)
ความเอียงของวงโคจร
(°)
ตำแหน่ง ปีที่ค้นพบ
0
(ดวงจันทร์เล็ก ๆ) moonlets
First moonlets PIA07792 (closeup).jpg
0.04 ถึง 0.5 ~130 000

ภายในวงแหวนเอ 2006[1][2][3]
1 XVIII แพน Pan
Pan side view.jpg
30 (35 × 35 × 23) [4] 133 584 [5] +0.575 05 [5] 0.001° ในช่องแบ่งเองเคอ 1990
2 XXXV แดฟนิส Daphnis
PIA06237.jpg
6 − 8 136 505 [5] +0.594 08 [5] ≈ 0° ในช่องว่างคีลเลอร์ 2005
3 XV แอตลัส Atlas
Cassini Atlas N00084634 CL.png
31 (46 × 38 × 19) [4] 137 670 [5] +0.601 69 [5] 0.003° ควบคุมวงแหวนเอด้านนอก 1980
4 XVI โพรมีเทียส Prometheus
Prometheus moon.jpg
86 (119 × 87 × 61) [4] 139 380 [5] +0.612 99 [5] 0.008° ควบคุมวงแหวนเอฟด้านใน 1980
5 XVII แพนดอรา Pandora
Pandora PIA07632.jpg
81 (103 × 80 × 64) [4] 141 720 [5] +0.628 50 [5] 0.050° ควบคุมวงแหวนเอฟด้านนอก 1980
6 XI เอพิมีเทียส Epimetheus PIA09813 Epimetheus S. polar region.jpg 113 (135 × 108 × 105) [4] 151 422 [5] +0.694 33 [5] 0.335° มีวงโคจรร่วมกัน 1980
7 X เจนัส Janus
Janus moon.jpg
179 (193 × 173 × 137) [4] 151 472 [5] +0.694 66 [5] 0.165° 1966
8 I ไมมัส Mimas
Mimas moon.jpg
397 (415 × 394 × 381) [6] 185 404 [7] +0.942 422 [8] 1.566° 1789
9 XXXII มีโทนี Methone
Methone (frame 15).jpg
3 194 440 [5] +1.009 57 [5] 0.007° (แอลไคโอนีเดส) 2004
10 XLIX แอนที Anthe
S2007 S 4 PIA08369.gif
~2 197 700 +1.036 50 0.1° 2007
11 XXXIII พาลลีนี Pallene
S2004s2 040601.jpg
4 212 280 [5] +1.153 75 [5] 0.181° 2004
12 II เอนเซลาดัส Enceladus
504 (513 × 503 × 497) [6] 237 950 [7] +1.370 218 [8] 0.010° ควบคุมวงแหวนอี 1789
13 III ทีทิส Tethys
Tethys PIA07738.jpg
1066 (1081 × 1062 × 1055) [6] 294 619 [7] +1.887 802 [8] 0.168° 1684
13a XIII เทเลสโต Telesto
Telesto cassini closeup.jpg
24 (29 × 22 × 20) [4] 1.158° โทรจันที่โคจรนำหน้าทีทิส 1980
13b XIV คาลิปโซ Calypso
Calypso image PIA07633.jpg
21 (30 × 23 × 14) [4] 1.473° โทรจันที่โคจรตามหลังทีทิส 1980
16 IV ไดโอนี Dione
Dione color.jpg
1123 (1128 × 1122 × 1121) [6] 377 396 [7] +2.736 915 [8] 0.002° 1684
16a XII เฮเลนี Helene
Cassini Helene N00086698 CL.jpg.jpg
33 (36 × 32 × 30) 0.212° โทรจันที่โคจรนำหน้าไดโอนี 1980
16b XXXIV พอลีดีวซีส Polydeuces
Polydeuces.jpg
3.5 [9] 0.177° โทรจันที่โคจรตามหลังไดโอนี 2004
19 V เรีย Rhea
Rhea (moon) thumb.jpg
1529 (1535 × 1525 × 1526) [6] 527 108 [10] +4.518 212 [10] 0.327° 1672
20 VI ไททัน Titan
Titan in natural color Cassini.jpg
5151 1 221 930 [7] +15.945 42 0.3485° 1655
21 VII ไฮพีเรียน Hyperion
Hyperion true.jpg
292 (360 × 280 × 225) 1 481 010 [7] +21.276 61 0.568° 1848
22 VIII ไอแอพิตัส Iapetus
1472 (1494 × 1498 × 1425) [6] 3 560 820 +79.321 5 [11] 7.570° 1671
23 XXIV คีเวียก Kiviuq
~16 11 294 800 [10] +448.16 [10] 49.087° กลุ่มอินูอิต 2000
24 XXII อีเยราก Ijiraq
~12 11 355 316 [10] +451.77 [10] 50.212° 2000
25 IX ฟีบี Phoebe
Phoebe cassini.jpg
220 (230 × 220 × 210) 12 869 700 −545.09[11][12] 173.047° กลุ่มนอร์ส 1899
26 XX พอเลียก Paaliaq
~22 15 103 400 [10] +692.98 [10] 46.151° กลุ่มอินูอิต 2000
27 XXVII สกาที Skathi
~8 15 672 500 [10] −732.52 [8][12] 149.084° กลุ่มนอร์ส
(สกาที)
2000
28 XXVI แอลบีออริกซ์ Albiorix
~32 16 266 700 [10] +774.58 [10] 38.042° กลุ่มแกลิก 2000
29 S/2007 S 2
~6 16 560 000 −792.96 176.68° กลุ่มนอร์ส 2007
30 XXXVII เบวีนน์ Bebhionn
~6 17 153 520 [10] +838.77 [10] 40.484° กลุ่มแกลิก 2004
31 XXVIII แอร์รีแอปัส Erriapus
~10 17 236 900 [10] +844.89 [10] 38.109° 2000
32 XLVII สกอลล์ Skoll
~6 17 473 800 [7] −862.37 [10] 155.624° กลุ่มนอร์ส
(สกาที)
2006
33 XXIX ซีอาร์นาก Siarnaq
~40 17 776 600 [10] +884.88 [10] 45.798° กลุ่มอินูอิต 2000
34 LII ทาร์เคก Tarqeq
~7 17 910 600 [13] +894.86 [10] 49.904° 2007
35 S/2004 S 13
~6 18 056 300 [10] −905.85 [8][12] 167.379° กลุ่มนอร์ส 2004
36 LI เกรป Greip
~6 18 065 700 [7] −906.56 [10] 172.666° 2006
37 XLIV ฮีร็อกคิน Hyrrokkin
~8 18 168 300 [7] −914.29 [10] 153.272° กลุ่มนอร์ส
(สกาที)
2006
38 L ยาร์นแซกซา Jarnsaxa
~6 18 556 900 [7] −943.78 [10] 162.861° กลุ่มนอร์ส 2006
39 XXI ทาร์วัส Tarvos
~15 18 562 800 [10] +944.23 [10] 34.679° กลุ่มแกลิก 2000
40 XXV มูนดิลแฟรี Mundilfari
~7 18 725 800 [10] −956.70 [8][12] 169.378° กลุ่มนอร์ส 2000
41 S/2006 S 1
~6 18 930 200 [7] −972.41 [10] 154.232° กลุ่มนอร์ส
(สกาที)
2006
42 S/2004 S 17
~4 19 099 200 [10] −985.45 [8][12] 166.881° กลุ่มนอร์ส 2004
43 XXXVIII แบร์เยลมีร์ Bergelmir
~6 19 104 000 [10] −985.83 [8][12] 157.384° กลุ่มนอร์ส
(สกาที)
2004
44 XXXI นาร์วี Narvi
~7 19 395 200 [10] −1008.45 [8][12] 137.292° กลุ่มนอร์ส
(นาร์วี)
2003
45 XXIII ซูตทุงการ์ Suttungr
~7 19 579 000 [10] −1022.82 [8][12] 174.321° กลุ่มนอร์ส 2000
46 XLIII ฮาตี Hati
~6 19 709 300 [10] −1033.05 [8][12] 163.131° 2004
47 S/2004 S 12
~5 19 905 900 [10] −1048.54 [8][12] 164.042° 2004
48 XL ฟาร์เบาตี Farbauti
~5 19 984 800 [10] −1054.78 [8][12] 158.361° กลุ่มนอร์ส
(สกาที)
2004
49 XXX ทริมาร์ Thrymr
~7 20 278 100 [10] −1078.09 [8][12] 174.524° กลุ่มนอร์ส 2000
50 XXXVI ไอเออร์ Aegir
~6 20 482 900 [10] −1094.46 [8][12] 167.425° 2004
51 S/2007 S 3
~5 20 518 500 ~ −1100 177.22° 2007
52 XXXIX เบสต์ลา Bestla
~7 20 570 000 [10] −1101.45 [8][12] 147.395° กลุ่มนอร์ส
(นาร์วี)
2004
53 S/2004 S 7
~6 20 576 700 [10] −1101.99 [8][12] 165.596° กลุ่มนอร์ส 2004
54 S/2006 S 3
~6 21 076 300 [7] −1142.37 [10] 150.817° กลุ่มนอร์ส
(สกาที)
2006
55 XLI เฟนรีร์ Fenrir
~4 21 930 644 [10] −1212.53 [8][12] 162.832° กลุ่มนอร์ส 2004
56 XLVIII ซัวร์เตอร์ Surtur
~6 22 288 916 [7] −1242.36 [10] 166.918° 2006
57 XLV คารี Kari
~7 22 321 200 [7] −1245.06 [10] 148.384° กลุ่มนอร์ส
(สกาที)
2006
58 XIX อีมีร์ Ymir
~18 22 429 673 [10] −1254.15 [8][12] 172.143° กลุ่มนอร์ส 2000
59 XLVI ลอยเอ Loge
~6 22 984 322 [7] −1300.95 [10] 166.539° 2006
60 XLII ฟอร์นยอต Fornjot
~6 24 504 879 [10] −1432.16 [8][12] 167.886° 2004

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น